สมุนไพรรักษาชันตุ และหนังศีรษะเป็นเม็ดผื่นคัน

มะคำดีควาย

ชื่ออื่นๆ
ส่วนที่ใช้
ขนาด
วิธีใช้
ข้อควรระวัง
: ชะแซ, ซะเหล่เด (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน), ประคำดีควาย (กลาง, ใต้), มะซัก, ส้มป่อยเทศ (เหนือ)
: ผล
: 1 – 2 ผล
: นำเนื้อของผลมาแกะเเล้วตักับน้ำสะอาดจะให้ฟอง นำฟองไปล้างสระหนังศีรษะเด็กที่เป็ยแผลพุพอง สระ 4 – 5 ครั้ง แผลพุพองจะหาย
: อย่าให้น้ำจากมะคำดีควายเข้าตา ตาจะอักเสบ และอย่าใช้มาก ผมจะร่วง

ขมิ้นชัน

ชื่ออื่นๆ
ส่วนที่ใช้
ขนาด
วิธีใช้
ข้อควรระวัง
: ขมิ้น (ทั่วไป), ขมิ้นแกง, ขมิ้นหยอก, ขมิ้นหัว (เชียงใหม่), ขี้มิ้น, หมิ้น (มลายู),ตายอ (กะเหรี่ยง – กำแพงเพชร), สะยอ (กะเหรี่ยง – แม่อ่องสอน)
: เหง้า
: 1 หัวแม่มือ
: เอาขมิ้นชันมาบดให้ละเอียด เติมสารส้มเล็กน้อย และน้ำมันมะพร้าวพอแฉะๆ ใช้ทาบริเวณที่เป็นแผลพุพองที่หนังศรีษะ

มะระ

ชื่ออื่นๆ
ส่วนที่ใช้
ขนาด
วิธีใช้
ข้อควรระวัง
: ผักเหย (ลงขลา), ผักไห (นครศรีธรรมราช), มะร้อยรู (กลาง), มะห่อย, มะไห่, มะนอย (เหนื), สุพะซู, สุพะเด (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน), มะระเล็ก, มะระขี้นก (ทั่วไป), โกควยเกี๊ยะ (จีน)
: ผลสดที่ไม่สุก
: 1 ชิ้นโตๆ
: หั่นเนื้อมะระ ตำ คั้นเอาแต่น้ำ เติมดินสอพองลงไปพอสมควรใช้ทาบริเวณที่เป็นเม็ดผื่นคัน

หวายดิน

ชื่ออื่นๆ

ส่วนที่ใช้
ขนาด
วิธีใช้
ข้อควรระวัง

: ขมิ้นเครือ (เหนือ), จุ๊มร่วมพนม (ชอง – จันทบุรี), เถาวัลย์ทอง (ประจวบคีรีขันธ์), พนม, อมพนม (ชลบุรี), แม่น้ำนอง (เชียงใหม่), ว่านนางล้อม (แพร่), วาร์ลำลงพนม (เขมร – ปราจีนบุรี), โคคลาน
: ผล
: 2 – 3 ผล
: ตำผลให้ละเอียด ผสมน้ำมันงา พอแฉะๆ ทาบริเวณที่เป็นโรคคันตามต้นคอและหนังศีรษะ พบว่าโรคนี้มักจะติดมาจากร้านตัดผมที่ไม่ค่อยรักษาความสะอาด

 

Scroll to top