แท็ก: สรรพคุณสมุนไพร
อ้อยช้าง
ชื่ออื่น ๆ : กุ๊ก , กุ๊ก(ภาคเหนือ) , หวีด(เชียงใหม่) , กอกกั่น(อุบลราชธานี) , แม่หยูว้าย(กะเหรี่ยงกาญจนบุรี) , เส่งสู่ไค้(กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ตะคร้ำ(ราชบุรี) , อ้อยช้าง(ไทยราชบุรี, – ภาคกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lannea coromandelica (Houtt.) Merr.
วงศ์ : ANACARDIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
อ้อยช้าง เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ลำต้นมีความสูงประมาณ 12 เมตร...
อินทนิลน้ำ
ชื่ออื่นๆ : ฉ่วงมู ฉ่องพนา (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) ตะแบกดำ (กรุงเทพฯ) บางอบะซา (มลายู-ยะลา, นราธิวาส) บาเย บาเอ (มลายู-ปัตตานี) อินทนิล (ภาคกลาง, ใต้)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lagerstroemia speciosa (L.) Pers.
ชื่อวงศ์ : LYTHRACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่...
อ้อยแดง
ชื่อท้องถิ่น : อ้อยดำ อ้อยขม
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Saccharum officinarum Linn.
ชื่อสามัญ : Black Sugar Cane, Sugar Cane
วงศ์ : GRAMINEAE (POACEAE)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
อ้อยแดง เป็นไม้ล้มลุก สูง 2-5 เมตร มักขึ้นเป็นกอ ลำต้นกลมสีม่วงแดง ลำต้นแข็งแรงมีข้อปล้องชัดเจน มีไขสีขาวปกคลุม เปลือกมีรสขม น้ำไม่ค่อยหวานแหลมเหมือนอ้อยธรรมดา
ใบอ้อยแดง เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ กว้าง 2.5-5 ซม....
อัคคีทวาร
ชื่ออื่น : หลัวสามเกียน, แข้งม้า, พรายสะเลียง, สะเม่าใหญ่, หมากดูกแฮ้ง, อัคคี, ตั่งต่อ, ปอสามเกี๋ยน, สามสุม, ตรีชวา, อัคคี, พายสะเมา, ควีโดเยาะ, ผักห้าส้วย, ลำกร้อล, ซานไถหงฮวา, ซานตุ้ยเจี่ย, ชะรักป่า, แคว้งค่า, ผ้าห้ายห่อคำ, มักก้านต่อ, มักแค้งข่า,...
อังกาบ
ชื่ออื่น ๆ : ทองระอา (กรุงเทพฯ), คันชั่ง (ตาก), ก้านชั่ง , หอมป่า (ภาคเหนือ) , อังกาลเมือง (ภาคกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barleria cristata Linn.
วงศ์ : ACNATHACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
อังกาบ เป็นพรรณไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลำต้นมีความสูงประมาณ 2.ม. กิ่งก้านและใบ จะมีขนอ่อน ๆ เป็นสีเหลือง
ใบอังกาบ จะออกเป็นคู่รงข้ามกัน ลักษณะใบหนา...
อัญชัน
ชื่ออื่น : แดงชัน (เชียงใหม่), อัญชัน (ภาคกลาง),เอื้องชัน (ภาคเหนือ)
ชื่อสามัญ : Blue Pea, Butterfly Pea
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clitoria ternatea L.
วงศ์ : LEGUMINOSAE–PAPILIONOIDEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
อัญชัน เป็นไม้ล้มลุกเลื้อยพัน ยาว 1-5 เมตร
ใบอัญชัน เป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 3-9 ใบ รูปรีแกมขอบขนานหรือรูปรีแกมไข่กลับ กว้าง 1-3 ซม....
อุตพิต
ชื่ออื่น ๆ : มะโหรา (จันทบุรี) , บอนแบ้ว (เชียงใหม่), อุตพิด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Typhonium trilobatum Schott.
วงศ์ : ARACEAE
ลักษณะทางพฤษศาตร์ :
อุตพิต เป็นพรรณไม้ล้มลุก มีหัวอยู่ใต้ดิน หัวจะเล็กเป็นรูปเกือบจะกลม วัดผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 1.2 ซม.
ใบอุตพิต จะมีลักษณะเป็นแฉกกลางรูปไข่ปลายแหลม ใบเป็นสีเขียวมีลาย หรือจุดประสีม่วง ก้านใบมีความยาวประมาณ 37.5 ซม. ใบจะเป็นหยัก 3 แฉก มีความกว้างและยาวประมาณ 25-30...
เอื้องหมายนา
ชื่ออื่น ๆ : เอื้องต้น(ยะลา), เอื้องใหญ่(ภาคใต้), ชู้ไลบ้อง, ซูเลโบ(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เอื้องเพ็ดม้า(ภาคกลางเกาะสมุย), เอื้องช้าง(นครศรีธรรมราช), จุยเจียวฮวย(จีน)
ชื่อสามัญ : crap Ginger, Malay Ginger, Spiral Flag
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Costus speciosus Smith.
วงศ์ : CROSTACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นเอื้องหมายนา เป็นพรรณไม้ลงหัว ลำต้นกลมอุ้มน้ำวัดผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 1.5 ซม. และลำต้นมีความสูงประมาณ 1.5-2.5 เมตร ส่วนรากนั้นจะเป็นหัวใหญ่ยาว...
แอปเปิล
ชื่ออื่น ๆ : ผิ่งก้วย (จีน-แต้จิ๋ว) , แอปเปิล (ไทย)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : malus pumila Mill.
วงศ์ : POMACEAE
ลักษณะทางพฤษศาสตร์ :
แอปเปิล เป็นพรรณไม้ยืนต้น ผลัดใบ กิ่งก้านอ่อนจะมีขนนุ่มปกคลุมอยู่ ลำต้นมีความสูงประมาณ 15 เมตร
ใบแอปเปิล จะมีลักษณะโต หรือยาวรี ตรงปลายใบจะแหลม ขอบใบมีรอยหยักคล้ายฟันเลื่อย ใบจะมีความยาวประมาณ 4.5-10 ซม. กว้างประมาณ 3.-5.5 ซม. ส่วนใบอ่อนนั้นจะมีขนอ่อนนุ่มสั้น...
ฮว่านง็อก
ชื่ออื่น : ฮว่านง็อก, พญาวานร, ต้นลิงง้อ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk.
ชื่อวงศ์ : Acanthaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ฮว่านง็อก เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงไม่เกิน 3 เมตร เป็นพันธุ์ไม้ใบ เมื่อเด็ดยอดอ่อน จะแตกกิ่งสาขาตามโคนก้านใบเป็นทรงพุ่ม แตกกิ่งก้านสาขามาก ลำต้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม เปลือกต้นผิวเรียบสีเขียว
ใบฮว่านง็อก ใบอ่อนมีสีเขียว ปลายใบแหลม ออกตามโคนง่ามใบด้านบนของใบมีสีเขียวเป็นมันเงา ส่วนล่างของใบจะหยาบ มีใบมาก ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปรี ถึงรูปใบหอก กว้าง 3-5...