Friday, September 22, 2023

หัว

หัว เป็นส่วนหนึ่งของพืชสมุนไพร “ตามส่วนที่ใช้ทำยา” ซึ่งกล่าวถึง ส่วนต่างๆ ของพืชที่สามารถนำมาใช้ทำยาได้ ส่วนที่นำมาใช้เป็นสรรพคุณทางยานั้น ได้แก่ ส่วนของใบ ดอก ผล เปลือกต้น ฝัก แก่น กระพี้ ราก หัว เหง้า เป็นต้น

กกสามเหลี่ยม

กกสามเหลี่ยม

ชื่อสมุนไพร :  กกสามเหลี่ยมชื่ออื่นๆ :  กก, กกตะกลับ, กกตาแดง, กกปรือ (กรุงเทพฯ, ภาคกลาง), กกคมบาง (ประจวบคีรีขันธ์),  มะนิ่ว, มะเนี่ยว  (เหนือ), แห้วกระดาน, แห้วหิน (ภาคตะวันตกเฉียงใต้)             ชื่อสามัญ : ...
กระจับ

กระจับ

ชื่อสมุนไพร : กระจับชื่ออื่นๆ : กะจับ, มาแง่ง, พายับ, เขาควายชื่อสามัญ : Water chestnutชื่อวิทยาศาสตร์ : Trapa bisphinosa Roxb.ชื่อวงศ์ : TRAPACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระจับ เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู มีอยู่ทั่วไป ลักษณะเป็นกอลอยน้ำ ชอบน้ำนิ่ง มีรากหยั่งยึดดินและมีไหล ใบกระจับ ใบเดี่ยวมี 2 แบบ ใบที่ลอยน้ำมีก้านยาว อวบน้ำและพองเป็นกระเปาะตรงกลาง ทำให้ลอยน้ำได้ดี แผ่นใบมีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปพัด...
กระเช้าถุงทอง

กระเช้าถุงทอง

ชื่ออื่น : กระเช้าถุงทองชื่อวิทยาศาสตร์ : Aristolochia pothieri Pierre ex Lecomte.ชื่อวงศ์ : ARISTOLOCHIACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระเช้าถุงทอง เป็นไม้เถาล้มลุก ทอดเลื้อยไปตามพื้นและเกี่ยวต้นไม้อื่น ลำต้น มีขนละเอียดประปราย ใบกระเช้าถุงทอง ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปไข่กว้างหรือแยกเป็น 3 แฉกแฉกยาวไม่ถึงกึ่งหนึ่งของความยาวใบใบยาว 11-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม หรือมน  ปลายแฉกด้านข้างมน   โคนใบรูปหัวใจตื้นๆแผ่นใบมีขนและต่อมทั้งสองด้าน  เส้นโคนใบ...
กระเช้าผีมด

กระเช้าผีมด

ชื่อสมุนไพร : กระเช้าผีมดชื่ออื่น ๆ :  กระเช้ามด(กลาง), หัวร้อยรู, ร้อยรู, ปุ่มฟ้า, ดาลูบูตาลิมาชื่อวิทยาศาสตร์ : Hydnophytum formicarium Jack.ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระเช้าผีมด เป็นไม้พุ่ม อิงอาศัยบนคาคบของต้นไม้อื่น ลำต้นสูง 30-60 เซนติเมตร โคนต้นขยายใหญ่เป็นรูปกลมป้อมสีน้ำตาลเทา อวบน้ำ ขนาด ผ่านศูนย์กลาง 15-40 เซนติเมตร ต้นแก่มีหัวกลมโตขนาดเท่าลูกมะพร้าวห้าว...

กระเช้าสีดา

ชื่อสมุนไพร : กระเช้าสีดาชื่ออื่น ๆ : กระช้าสีดา, กระเช้าถุงทอง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aristolochia indica L. ชื่อวงศ์ : ARISTOLOCHIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระเช้าสีดา ไม้เถา รากมีเนื้อแข็ง กิ่งยาวเรียวเป็นร่อง ใบกระเช้าสีดา ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปสามเหลี่ยมแคบ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 5-10 ซม....
กระดาดขาว

กระดาดขาว

ชื่ออื่น : กระดาดขาว, เมาะขาว (ปัตตานี), หัวชะออกขาว, ออกดิบ (ใต้), กะเอาะขาว (ชุมพร), ผักบุก (เหนือ)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Colocasia gigantea Hook.f.ชื่อวงศ์ : ARACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระดาดขาว เป็นไม้ลงหัวจำพวกบอน สูงประมาณ 2 เมตร ลำต้นสั้น ป้อม ใบกระดาดขาว รูปหัวใจขนาดใหญ่สีเขียวนวล แผ่นใบบาง...
กระดาดดำ

กระดาดดำ

ชื่ออื่น : กระดาดดำ, ปึมปื้อ (เชียงใหม่), ลาดีบูเก๊าะ, เอาะลาย (ยะลา), เมาะดำ, หัวชะออกดำ (ใต้)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alocasia macrorrhiza Schottชื่อวงศ์ : ARACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระดาดดำ เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ สูงกว่า 1 เมตร ลำต้นสั้น อวบ ใบกระดาดดำ ใบเดี่ยว สีเขียวเข้มหรือม่วง รูปไข่กว้าง...
กลิ้งกลางดง

กลิ้งกลางดง

ชื่อสมุนไพร : กลิ้งกลางดงชื่ออื่นๆ : ว่านสามพันตึง, ว่านพระฉิม, มันขมิ้นชื่อวิทยาศาสตร์ : Dioscorea bulbifera L.ชื่อวงศ์ : DIOSCOREACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :  ต้นกลิ้งกลางดง ไม้เลื้อย มีรากสะสมอาหารเป็นหัวทรงกลมผิวมีทั้งชนิดขรุขระและเรียบ ต้นและกิ่งก้านเลื้อยพันกับสิ่งที่อยู่ใกล้ มีอายุการเจริญเติบโตฤดูกาลเดียว ในช่วงฤดูแล้งความชื้นไม่พอเถาจะแห้งตายเหลือไว้แต่หัวไต้ดิน เมื่อมีความชุ่มชื้นพอในฤดูฝนต้นจะเจริญขึ้นมาใหม่ หัวหรือรากสะสมอาหารนี้หากทำให้เกิดบาดแผลจะมีน้ำยางใสสีแดงไหลซึม การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเรียงสลับ ใบกลิ้งกลางดง เป็นใบเดี่ยว ทรงใบรูปไข่แกมหัวใจ ปลายใบแหลมมีติ่งหาง โคนมนกว้างเว้าลึกเป็นติ่งหู...
กวาวเครือขาว

กวาวเครือขาว

ชื่อสมุนไพร : กวาวเครือขาวชื่ออื่น ๆ : กวาวเครือ, กวาว, ทองเครือ, ทองกวาว, กวาวหัว ตามจอมทอง, จานเครือ, โพะตะกู, ตานเคือ, ตานเครือชื่อวิทยาศาสตร์ : Pueraria candollei Graham ex Benth. var mirificaวงศ์ : Leguminosae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : กวาวเครือขาว เป็นไม้เถาเนื้อแข็งอายุหลายปี จัดเป็นไม้เลื้อย หัว อยู่ใต้ดิน ลักษณะกลม...
กวาวเครือแดง

กวาวเครือแดง

ชื่อสมุนไพร : กวาวเครือแดงชื่ออื่น ๆ : กวาวหัว, จานเครือ, จอมทอง, ตานจอมทอง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Butea superba Roxb. วงศ์ : Leguminosae  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกวาวเครือแดง เป็นไม้เถายืนต้นที่มีลำต้นขนาดใหญ่ อายุยิ่งมากเท่าไหร่เถาก็จะยิ่งใหญ่และกลายเป็นต้น แต่ยังส่งเถาเลื้อยไปพาดพันตามต้นไม้ที่อยู่ในบริเวณใกล้ๆ ส่วนต้นหากใช้มีดฟันจะมียางสีแดงคล้ายโลหิตออกมา หากขุดโคนต้น ก็จะพบรากขนาดใหญ่เท่าน่องขาเลื้อยออกมาจากต้นโดยรอบ มีความยาวประมาณ 2...
กลอย

กลอย

ชื่อสมุนไพร : กลอยชื่ออื่นๆ : กลอย, มันกลอย, กลอยข้าวเหนียว, กลอยหัวเหนียว(นครราชสีมา), กลอยนก(เหนือ), กลอยไข่(ตะวันออกเฉียงเหนือ)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dioscorea hispida Dennst.ชื่อวงศ์ : Dioscoreaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกลอย เป็นไม้เถาล้มลุก ไม่มีมือเกาะ มีหัวใต้ดิน ลึกประมาณ 10-15 เซนติเมตร ลำต้นกลมมีหนามเล็กๆกระจายทั่วไป และมีขนนุ่มๆ สีขาวปกคลุม มีรากเจริญเป็นหัวสะสมอาหารอยู่ใต้ดิน หัวใต้ดินส่วนมากกลมรี บางทีเป็นพู...
ข่าตาแดง

ข่าตาแดง

ชื่ออื่น ๆ : ข่าตาแดง, ข่าเล็กชื่อวิทยาศาสตร์ : Alpinia officinarum Hanceวงศ์ : ZINGIBERACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นข่าตาแดง เป็นพรรณไม้ลงหัวและต้นเมื่อมันแตกขึ้นเป็นกอจะเหมือนกับข่าใหญ่ แต่ต้นจะเล็กและสั้นกว่าข่าใหญ่เล็กน้อย แต่โตกว่าข่าลิงสักหน่อย ใบข่าตาแดง ใบมีลักษณะเช่นเดียวกับข่าใหญ่ โดยมีลักษณะของใบเป็นรูปไข่ยาว คล้ายใบพาย ออกสลับกันรอบ ๆ ลำต้น ดอกข่าตาแดง ออกดอกเป็นช่อตรงปลายยอด ช่อดอกเป็นสีขาว แต้มด้วยสีแดงเล็กน้อย หน่อข่าตาแดง เมื่อมันแตกหน่อจะมีสีแดงจัด เราเรียกว่าตาแดง แต่กลิ่นและรสนั้น จะหอมฉุนกว่าข่าใหญ่ หน่อนั้นใช้เป็นผักปรุงอาหาร  ส่วนที่ใช้เป็นยา : ต้น, ดอก, ใบ, หัว สรรพคุณ...
ข้าวเย็นใต้

ข้าวเย็นใต้

ชื่อสมุนไพร : ข้าวเย็นใต้ชื่ออื่นๆ : ยาหัว(เลย,นครพนม), หัวยาข้าวเย็น(เพชรบูรณ์), ยาหัวข้อ(ภาคเหนือ), หัวยาจีนปักษ์ใต้(ภาคใต้), ข้าวเย็นโคกขาว, เสียนฝูหลิง, ควางเถียวป๋าเชี่ย(จีนกลาง)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Smilax glabra Wall.ex Roxb.ชื่อวงศ์ : SMILACACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ข้าวเย็นใต้ เป็นเถาไม้เลื้อยที่ลำต้นมีสีน้ำตาลเข้มโดยมีเหง้าหรือหัวอยู่ใต้ดินลักษณะกลมหรือแบนหรือเป็นก้อนและรูปร่างไม่แน่นอน ผิวไม่เรียบพบก้อนแข็งนูนขึ้นแยกเป็นแขนงสั้นๆ ความกว้างประมาณ 2-5 ซม. และความยาว 5-22 ซม. ผิวมีสีน้ำตาลเหลืองหรือสีเทาน้ำตาล...
ข้าวเย็นเหนือ

ข้าวเย็นเหนือ

ชื่อสมุนไพร : ข้าวเย็นเหนือชื่ออื่น :  ข้าวเย็นโคกแดง, ค้อนกระแต, หัวข้าวเย็นเหนือ, หัวข้าวเย็นวอก, ยาหัวข้อ (อุบลราชธานี), หัวยาข้าวเย็น, ข้าวเย็นวอก (ภาคเหนือ), หัวยาจีนปักษ์เหนือ (ภาคใต้), เสี้ยมโค่ฮก, เสี้ยมโถ่ฮก (จีนแต้จิ๋ว), ถู่ฝุหลิง และ หงถู่หลิง (จีนกลาง)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Smilax corbularia Kunth.ชื่อวงศ์...
ขี้กาแดง

ขี้กาแดง

ชื่ออื่น ๆ : มะกาดิน(ศรีราชา), ขี้กาแดง, ขี้กาลาย, ขี้กาน้อย, กายิงอ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Trichosanthes bracteata (Lam.) Voight (T.palmata Roxb.) ชื่อวงศ์ : CUCURBITACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ขี้กาแดง เป็นไม้เถาเลื้อย ลำเถาอวบน้ำและสากมีขนสีขาวสั้นตั้งตรงเกาะติดหนาแน่น ใบขี้กาแดง ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียนและมีหนวดที่โคนก้านใบ ใบรูปไข่เกือบกลม 5 เหลี่ยม ขนาดประมาณ 10 x...