Tuesday, October 3, 2023

ลำต้น

ลำต้น เป็นส่วนหนึ่งของพืชสมุนไพร “ตามส่วนที่ใช้ทำยา” ซึ่งกล่าวถึง ส่วนต่างๆ ของพืชที่สามารถนำมาใช้ทำยาได้ ส่วนที่นำมาใช้เป็นสรรพคุณทางยานั้น ได้แก่ ส่วนของใบ ดอก ผล เปลือกต้น ฝัก แก่น กระพี้ ราก หัว เหง้า เป็นต้น

กกธูปฤาษี

กกธูปฤาษี

ลำต้น ยารักษาโรคทางเดินปัสสาวะ ยาบำบัดโรคบางชนิด ช่วยขับปัสสาวะ ช่วยเพิ่มน้ำนมของสตรีหลังการคลอดบุตร ราก ยาบำบัดโรคบางชนิด ช่วยขับปัสสาวะ
กกลังกา

กกลังกา

ชื่อสมุนไพร :        กกลังกาชื่ออื่นๆ :               กกขนาก, กกต้นกลม, หญ้าสเล็บ, หญ้าลังกา, กกดอกแดง (พระนครศรีอยุธยา)             ...
กรดน้ำ

กรดน้ำ

ชื่อสมุนไพร :          กรดน้ำชื่ออื่น ๆ :                หนวดแมว, ขัดมอนเล็ก (ภาคกลาง)            ...
กรรณิการ์

กรรณิการ์

ชื่อสมุนไพร : กรรณิการ์ชื่ออื่น ๆ : กันลิกา, กรรณิกาชื่อสามัญ : Night Jasmineชื่อวิทยาศาสตร์ : Nyctanthes arbortristis Linn.ชื่อวงศ์ : VERBENACEAE   ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกรรณิการ์ เป็นไม้พุ่ม สูงประมาณ 3 – 4 เมตร ตามลำต้นจะมีรอยเป็นเส้นคาดรอยต้นเป็นช่วงๆ ไปตามข้อต้น เปลือกของลำต้นนั้นมีสีขาว ลักษณะของลำต้นและกิ่งก้านโดยเฉพาะส่วนที่เป็นแขนงและกิ่งอ่อนจะเป็นสี่เหลี่ยม บริเวณแนวสันเหลี่ยมของกิ่งหรือลำต้นมีตุ่มเล็ก ๆ ประเป็นแนวอยู่ด้วย ใบกรรณิการ์ เป็นไม้ใบเดี่ยวแต่ออกเป็นคู่ๆ สลับกันไปตามข้อของต้น มีรูปมนรี...
กระชับ

กระชับ

ชื่อสมุนไพร : กระชับชื่ออื่น ๆ : มะขะขัดน้ำ(ภาคเหนือ), หญ้าผมยุ่ง(เชียงใหม่) ขี้อัน,เกี๋ยงน้ำ(ภาคเหนือ-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ขี้อันน้ำ(นครพนม), ขี้อันดอน(ขอนแก่น,เลย), ขี้ครอก(ราชบุรี)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Xanthium strumarium Linn.ชื่อวงศ์ : COMPOSITAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระชับ เป็นพรรณไม้ล้มลุก ที่มีลำต้นสูงประมาณ 1 เมตร ลักษณะลำต้นตั้งตรง กิ่งก้านของมันมีขนขึ้นประปราย ใบกระชับ มีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยม ใบจักเว้าเป็น 3-5 แฉก ริมขอบใบหยิกเป็นซี่ฟันปลา เนื้อใบบาง พื้นผิวหลังและใต้ท้องใบหยากสาก ใบมีขนาดกว้างประมาณ...
กระโดน

กระโดน

ชื่ออื่น ๆ : กระโดน(กลาง-ใต้), ปุยกระโดน(ใต้), ปุย(ใต้-เหนือ), ปุยขาว, พุย(ละว้า-เชียงใหม่), ขุย(กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), เส่เจ๊อะบะ(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), หูกวาง(จันทบุรี), กะนอน(เขมร)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Careya sphaerica Roxb.ชื่อวงศ์ : Lecythidaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระโดน ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร เปลือกต้นสีดำ หรือสีน้ำตาลดำหนา แตกล่อนเป็นแผ่น มีกิ่งก้านสาขามาก เนื้อไม้สีแดงเข้มถึงสีน้ำตาลแกมแดง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม...
กระทืบยอด

กระทืบยอด

ชื่อสมุนไพร : กระทืบยอดชื่ออื่น ๆ : กะทืบยอด (ภาคกลาง), จิยอบต้นตาล (ภาคเหนือ), นกเขาเง้า (โคราช), ทืบยอด (สุราษฎร์), เนี้นซัวเช้า (จีน)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Biophytum sensitivum (L.) DC.ชื่อวงศ์ : OXALIDACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระทืบยอดจัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกฤดูเดียว ลำต้นมีขนาดเล็กตั้งตรง ไม่แตกกิ่งก้าน ลักษณะของลำต้นกลมเป็นปล้องข้อ เปลือกต้นเป็นสีแดงเรื่อ...
กระพี้จั่น

กระพี้จั่น

ชื่อสมุนไพร : กระพี้จั่นชื่ออื่นๆ : จั่น, พี้จั่น, ปี้จั่นชื่อวิทยาศาสตร์ : Millettia brandisiana Kurzชื่อวงศ์ : LEGUMINOSAE–PAPILIONOIDEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกระพี้จั่น เป็นไม้ต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-20 เมตร เรือนยอดทรงกลม โคนต้นเป็นพูพอน เปลือกสีน้ำตาลหรือ น้ำตาลเทาแตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ ตามกิ่งมีรอยแผลทั่วไป ใบกระพี้จั่น ประกอบรูปขนนก ออกเวียนสลับ มีใบย่อย 7-21 ใบ แผ่นใบย่อยรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง...
กวาวต้น

กวาวต้น

ชื่ออื่น : กวาวต้น, กวาวต้นกวาว, ก๋าว, จอมทอง, จ้า, จาน, ทอง, ทองกวาวทองต้น, ทองธรรมชาติ, ทองพรมชาติ, ต้นจาน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Butea monosperma (Lam.) ชื่อวงศ์ : LEGUMINOSAE-PAPLIODEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกวาวต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงกลาง ลำต้นมักจะคดงอและแตกกิ่งต่ำ เปลือกต้นสีเทาคล้ำแตกเป็นร่องตื้นๆมีน้ำยางใสๆ...
กะเม็งตัวเมีย

กะเม็งตัวเมีย

ชื่อสมุนไพร : กะเม็งตัวเมียชื่ออื่น ๆ : กะเม็งตัวเมีย, กะเม็ง(ภาคกลาง), ฮ่อมเกี่ยว(ภาคเหนือ), บั้งก็เช้า(ประเทศจีน)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eclipta prostrata (L.) L.ชื่อวงศ์ : COMPOSITAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกะเม็งตัวเมีย เป็นพรรณไม้ล้มลุก ที่มีลำต้นตั้งตรง มีความสูงประมาณ 4-32 นิ้ว ลักษณะลำต้นมีขนหรือบางต้นก็ค่อนข้างเกลี้ยง ลำต้นมีกิ่งก้านแตก ที่โคนต้น ใบกะเม็งตัวเมีย มีลักษณะเป็นรูปรี หรือรูปหอก ปลายใบแหลมเรียว โคนใบสอบแคบ ริมขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ผิวเนื้อใบเกลี้ยง ขนาดของใบกว้างประมาณ 0.5-2.5...
กาฝากมะม่วง

กาฝากมะม่วง

ชื่ออื่น : กาฝากมะม่วง, กาฝากมะม่วงพรวน,  กาฝากมะม่วงกะล่อนชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.ชื่อวงศ์ : Loranthaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : กาฝากมะม่วง เป็นไม้พุ่มจำพวกกาฝากอาศัยเกาะต้นไม้อื่น มีเนื้อไม้แข็ง รากกาฝากจัดเป็นรากเบียน (haustorium) ใช้เกาะยึดกับลำต้นหรือกิ่งของไม้ชนิดอื่น ด้วยการแทงรากเชื่อมกับระบบลำเรียงน้ำ และอาหารในชั้นโฟเอ็ม และไซเล็มของไม้อื่น รากนี้จะคอยดูดน้ำ และสารอาหารที่ลำเลียงผ่านท่อลำเลียง แล้วส่งมาเลี้ยงลำต้น และใบของตนเองให้เจริญเติบโต เป็นเถาเลื้อย ลำต้นมีขนาดเล็ก ยาวประมาณ 50-100...
กาสะลองคำ

กาสะลองคำ

ชื่ออื่น : กาสะลองคำ, กากี, แคะเป๊าะ, สำเภาหลามต้น, จางจืด, สะเภา, อ้อยช้าง, ปีบทองชื่อวิทยาศาสตร์ : Radermachera ignea (Kurz) Steenisชื่อวงศ์ : BIGNONIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกาสะลองคำ ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 6-15 เมตร ผลัดใบแต่ผลิใบใหม่ไว เรือนยอดแผ่นเป็นชั้น ลำต้นเปลาตรง กิ่งก้านเล็กและลู่ลง เปลือกสีเทา แตกสะเก็ดเล็กน้อยมีช่องอากาศขนาดใหญ่ทั่วไป ใบกาสะลองคำ ประกอบแบบขนนก 3 ชั้น เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ยาว 20-60 ซม. ใบย่อย 3-5 คู่ เรียงตรงข้าม ใบรูปรี รูปใบหอก กว้าง 2-4.6 ซม. ยาว 5-12 ซม. ปลายใบแหลมยาวโคนใบเบี้ยว ขอบใบเรียบ หลังใบเรียบ สีเขียวเป็นมัน ท้องใบเรียบสีอ่อนกว่า แผ่นใบบาง เส้นแขนงใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.3-1.1 ซม. ดอกกาสะลองคำ สีเหลืองทองออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกตามกิ่งและลำต้น มี 3-10 ดอก ช่อดอกยาว 1-1.7 ซม. มีขนนุ่มประปราย กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดคล้ายรูปกระสวยแกมรูปไข่ สีน้ำตาลแดง มีขนนุ่มทั่วไป กลีบดอกเชื่อมเป็นรูปทรงกระบอกปลายแยกเป็น 5 แฉก ดอกบานเต็มที่กว้าง 1.5-2 ซม. ผลกาสะลองคำ แห้งแตก เป็นฝัก รูปทรงกระบอกยาว 30-45 ซม. ผลแก่จะบิดเวียนและแตก 2 ซีก  เมล็ด แบน มีจำนวนมาก มีปีกแคบยาว 2 ข้าง  ส่วนที่ใช้เป็นยา : ลำต้น, เปลือกต้น, ใบ สรรพคุณ กาสะลองคำ : ลำต้น ผสมกับต้นขางปอย...
กำแพงเจ็ดชั้น

กำแพงเจ็ดชั้น

ชื่ออื่นๆ : ตะลุ่มนก (ราชบุรี) ตาไก้ (พิษณุโลก) น้ำนอง มะต่อมไก่ (เหนือ) หลุมนก (ใต้) ขอบกระด้ง พรองนก (อ่างทอง); ขาวไก่, เครือตากวาง, ตากวาง, ตาไก่ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ); กระดุมนก (ประจวบคีรีขันธ์); กลุมนกชื่อวิทยาศาสตร์ : Salacia chinensis L.ชื่อวงศ์ : Celastraceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกำแพงเจ็ดชั้น ไม้พุ่มรอเลื้อย สูง...
กำยาน

กำยาน

ชื่อสมุนไพร : กำยานชื่ออื่น ๆ : กำยานไทย (ภาคกลาง), กำยาน (ภาคเหนือ), เซ่พอบอ(กะเหรี่ยง-เชียงใหม่), เข้ว (ละว้า-เชียงใหม่), เกลือตานตุ่น (ศรีสะเกษ), ชาติสมิง (นครพนม), กำมะแย, กำยานสุมาตร (นราธิวาส,มาเลเซีย), เบนซอย (นอกประเทศ)ชื่อวิทยาศาสตร์ : Styrax benzoides Craibวงศ์ : STYRACACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกำยาน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง...
กินกุ้งน้อย

กินกุ้งน้อย

ชื่อสมุนไพร : กินกุ้งน้อย ชื่ออื่นๆ : ผักปลาบ (ทั่วไป),  หญ้าเลินแดง (สุราษฎร์ธานี) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Murdannia nudiflora (Linn.) Brenan ชื่อวงศ์ : COMMELINACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นกินกุ้งน้อย เป็นพรรณไม้ล้มลุกอายุปีเดียว มีลำต้นกึ่งตั้งกึ่งเลื้อย แตกออกเป็นกอ ๆ เล็ก ๆ มีความสูงได้ประมาณ...