ช้างน้าว
ชื่ออื่นๆ : ตาลเหลือง(เหนือ), แง่ง(บุรีรัมย์), ช้างน้าว, ตานนกกรด(นครราชสีมา), กำลังช้างสาร(กลาง), ขมิ้นพระต้น(จันทบุรี), ช้างโน้ม(ตราด), ช้างโหม(ร้อยเอ็ด), ฝิ่น(รบ), กระแจะ, กระโดงแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ochna integerrima Merr.
ชื่อวงศ์ : MORACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นช้างน้าว เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงได้ถึง 12 เมตร กิ่งก้านแผ่ขยายออก ลำต้นมักคดงอ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องลึก ตามปลายกิ่งมีกาบหุ้มตาแข็งและแหลม
ใบช้างน้าว เป็นใบเดี่ยว...
ชะอม
ชื่ออื่น ๆ : ผักหละ, ผักละ, ผักล่า, ผักห้า(ภาคเหนือ), ชะอม(ไทยภาคกลาง), ผักข่า(ร้อยเอ็ด),โพะซุยโด่ะ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acacia pennata (L.) Willd.ssp. insuavis
ชื่อวงศ์ : MIMOSEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นชะอม เป็นไม้พุ่มขนาดย่อมไม่สูงมาก แต่เคยมีพบการพบชะอมในป่า ลักษณะเป็นต้นไม้ใหญ่ วัดเส้นรอบวงของลำต้นได้ 1.2 เมตร กิ่งก้านของชะอมมีหนามแหลม
ใบชะอม ลักษณะ เป็นใบประกอบขนาดเล็ก มีก้านใบแยกเป็นใบอยู่ 2 ทาง ลักษณะคล้ายใบกระถิน (แยกได้โดยการสังเกตุดีๆหรือดมกลิ่น)...
ช้าแป้น
ชื่ออื่น : ช้าแป้น, มะเขือดง, ดับยาง, ผ่าแป้ง, ฝ้าแป้ง, สะแป้ง, ฉับแป้ง(สุโขทัย), ฝ่าแป้ง(ภาคเหนือ), มั่งโพะไป่(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ขาตาย, ขากะอ้าย(ภาคใต้), หูควาย(ยะลา), สมแป้น(เพชรบุรี), เอี๋ยเอียงเฮียะ(แต้จิ๋ว), แหย่เยียนเยวียะ(จีนกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum erianthum D. Don
ชื่อวงศ์ : SOLANACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นช้าแป้น เป็นพรรณไม้พุ่มจะมีขนอยู่ทั้งต้น และจะผลัดใบตามฤดูกาล ลำต้นมีความสูงประมาณ 1-3 เมตร...
ชะคราม
ชื่ออื่น : ชะคราม, ชักคราม, ส่าคราม(สมุทรสาคร)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Suaeda maritima (L.) Dumort.
ชื่อวงศ์ : CHENOPODIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นชะคราม ไม้ล้มลุก หลายปี ลำต้นเกลี้ยง กิ่งก้านเล็กสีน้ำตาลแดง แตกแขนงที่โคนต้น สูง 30-100 ซม.
ใบชะคราม เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ อวบน้ำ รูปแถบหรือรูปขอบขนาน แผ่นใบยาว 0.5-4...
ชะลูดขาว
ชื่ออื่นๆ : ชะลูด, ชะลูดขาว(ไทยภาคกลาง), นูด, นูดขาว(ปักษ์ใต้), ชะนูด(สุราษฎร์)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alyscia Spp.
ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นชะลูดขาว เป็นพรรณไม้เถาเลื้อยพาดตามต้นไม้ใหญ่ ขนาดของเถานั้นจะเล็กประมาณ 1 ถึง 1 ซม. เถาของพรรณไม้นี้จะมีกลิ่นหอมดีมาก ถึงแม้จะไม่มีดอกก็ตาม แต่ก็ส่งกลิ่นหอมได้ดีมาก
เปลือกชะลูดขาว...
ชะลูดแดง
ชื่ออื่นๆ : ชะลูดแดง, ชะนูด(สุราษฎร์), ชะลูดแดง(ไทยภาคกลาง), นูดแดง(ภาคใต้)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alyscia Spp.
ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นชะลูดแดง เป็นพรรณไม้เถายืนต้น
ใบชะลูดแดง ใบจะมีลักษณะหนาและแข็งคล้ายกับใบสำมะงา
เปลือกชะลูดแดง เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีแดงและจะแตกเป็นระแหง
ดอกชะลูดแดง ดอกจะมีกลิ่นหอมมากกว่าเปลือก เป็นดอกสีขาวเล็ก ๆ
ส่วนที่ใช้เป็นยา : ใบ,...
ชำมะนาด
ชื่ออื่น : ชำมะนาด, ชำมะนาดกลาง, ชมมะนาด, ดอกข้างใหม่, อ้มส้าย, ชำปะนาด, หางเม้นเครือ, หญ้าช้างย้อย, อุ่มฟูม
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Vallaris glabra Ktze.
ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นชำมะนาด เป็นไม้เถาเลื้อย ลำต้นแข็งสีเขียวคล้ำตกกระ มีน้ำยางขาว
ใบชำมะนาด เป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีกว้างแกมรูปไข่กลับ กว้าง 4-8 ซม....
เชือกเขาไฟ
ชื่ออื่นๆ : ย่างทราย, ย่านปด, เชือดเขาไฟ, เชือกเขาไฟ, ฮางฮ้อน, ไม้ไฟ, รังร้อน, รสสุคนธ์แดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tetracera indica Merr.
ชื่อวงศ์ : DILLENIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ต้นเชือกเขาไฟ จัดเป็นไม้เถาเลื้อยเนื้อแข็ง เลื้อยได้ไกลถึง 10 เมตร เถาเป็นสีน้ำตาลแดง เปลือกต้นเรียบเป็นสีน้ำตาล เมื่อแก่จะแตกเป็นสะเก็ดบาง ๆ...
ช้อยนางรำ
ชื่ออื่น : ช้อยนางรำ, ว่านมีดยับ, หว้านมีดยับ(ลำพูน), แพงแดง(ประจวบคีรีขันธ์), ค่อยช้างรำ, ช้อยช่างรำ, นางรำ(ไทย), แพวแดง(อรัญประเทศ), เคยแนะคว้า(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codariocalyx motorius (Houtt.) Ohashi
ชื่อวงศ์ : Fabaceae–Papilionoideae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ช้อยนางรำ จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กจำพวกหญ้า ลำต้นมีความสูงได้ประมาณ 90 เซนติเมตร ส่วนผิวของลำต้นนั้นจะเป็นสีไม้แห้
ใบช้อยนางรำ ใบแยกเป็นใบย่อย 3 ใบ...
ชาด
ชื่ออื่นๆ : ชาด, กุง(อุบลราชธานี, อุดรธานี, ปราจีนบุรี), คลง(เขมร), คลอง(เขมร), ควง(พิษณุโลก, สุโขทัย), ตึง, ตึงขาว(ภาคเหนือ), พลวง, ยาง(ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ยางพลวง(ภาคกลาง), พลอง, แลเท้า(กะเหรี่ยง,แม่ฮ่องสอน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dipterocarpus tuberculatns Roxb.
ชื่อวงศ์ : DIPTEROCARPACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์...